บทความสุขภาพ
อาหารเสริมกินจืดยืดชีวิต
สมุนไพรกรดไหลย้อน
celluliteวิธีขจัดเซลลูไลท์
การกินวิตามินการกินวิตามิน
สูตรLowแคลอรี่


สมุนไพรไทยสมุนไพร
+กระเทียม
+
กระดุมทอง
+
บัวบก
+มะตูม
+กระชาย

บทความสุขภาพบทความสุขภาพ
+ ลดกินแป้ง ลดสิว
+กล้ามท้องที่เซ็กซี่
+ Article Health
+หนังสือสุขภาพ
+Rema Book

บทความสุขภาพ
+อาหารสตรีวัยทอง
+ตากแดด30นาที
+ดื่มเหล้าเสี่ยงเส้น
เลือดในสมองแตก

+สรรพคุณทางยา
ของมะระ

สุขภาพดี บทความสุขภาพ อาหารสุขภาพ สุขภาพผู้หญิง สุขภาพผู้ชาย
Custom Search

โรคโภชนาการในเด็ก

คือโรคที่เกี่ยวกับลักษณะการกินของเด็กในแต่ละคน บางคนกินมากไปทำ
ให้นำ้หนักเกิน บางคนกินน้อยทำให้ขาดสารอาหารรวมถึงการกินอาหารที่
ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกายติดเป็นนิสัยก่อให้เกิดภาวะโภชนาการในเด็กซึ่ง
มีอยู่หลายโรค ได้แก่
 


ภาวะน้ำหนักเกิน และโรคอ้วน
ทราบกันดีว่าโรคอ้วนนั้นมีความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น เบาหวาน  ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ  ไขมันในเลือดสูง   โรคข้อ  โรคเกี่ยวกับ
ทางเดินหายใจ  ตลอดจนปัญหาทางด้านจิตใจ

จากการศึกษาพบว่าเด็กอ้วนมีโอกาสเป็นผู้ใหญ่อ้วนในอนาคตมากกว่าเด็ก
ที่มีน้ำหนักตัวปกติ  สาเหตุของภาวะอ้วนในเด็กนั้นเกิดจากปัจจัยสำคัญ
สองอย่างคือ มีพฤติกรรมการกิน และการออกกำลังกายไม่เหมาะสม 
กล่าวคือ กินมากเกินไป กินอาหารที่มีแคลอรี่สูง กินผักผลไม้น้อย ไม่ค่อย
ออกกำลังมีกิจกรรมที่ไม่ค่อยเคลื่อนไหวร่างกายมาก เช่น ดูทีวี เล่นเกมส์  เล่นคอมพิวเตอร์

การแก้ไขปัญหาตรงนี้นอกจากการปรับเปลี่ยนอาหารการกินแล้วการให้ความรู้
การวางแผนการออกกำลังกาย และการให้ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนมี
ส่วนร่วม ก็จะให้เกิดผลสำเร็จมากขึ้น
  
น้ำหนักตัวต่ำกว่ามาตรฐาน (
Underweight)
เด็กที่ผอมกว่าปกติอาจมีสาเหตุจากเป็นโรคเรื้อรัง ได้รับอาหารไม่พอหรือ
ไม่อยากอาหาร หรือในเด็กหญิงโดยเฉพาะในช่วงอายุ 9-17 ปี อาจจะอด
อาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก ดังนั้นจึงควรแนะนำให้เด็กรับประทานอาหาร
ให้ได้สารอาหารและพลังงานที่เพียงพอ
  
การขาดเหล็ก (
Iron deficiency)
การขาดเหล็กพบได้บ่อยในเด็กเล็กอายุ 1-3 ปี ในเด็กเล็กที่กินนมเป็นส่วน
ใหญ่และกินอาหารอื่นน้อยอาจได้รับเหล็กไม่พอ เด็กที่ไม่กินเนื้อสัตว์
อาจทำให้การดูดซึมเหล็กไม่ดีเนื่องจากเหล็กในเนื้อสัตว์จะอยู่ในรูปheme
iron ซึ่งมีการดูดซึมที่ดีกว่าเหล็กในรูป non-hemeiron ซึ่งมีอยู่ในพืช
ต่าง ๆ   ในทารกและเด็กที่ขาดเหล็กจะพบว่ามีการพัฒนาการเรียนรู้ช้า การเพิ่มการดูดซึมธาตุเหล็กอาจทำได้โดยให้รับประทานอาหารที่มีกรด
แอสคอร์บิคหรือไวตามินซีร่วมด้วย และควรให้เด็กรับประทานเนื้อสัตว์ ปลา
สัตว์ปีกเป็นประจำ
 
ฟันผุ (Dental caries)
เด็กอาจฟันผุได้จากการรับประทานอาหารที่มีน้ำตาลสูง หรือจากการกิน
อาหารติดต่อกัน  พ่อแม่ควรหัดให้ลูกกินของหวานในปริมาณน้อย หรือ
ให้กินร่วมกับอาหารอื่นที่มีรสไม่หวาน เพื่อช่วยลดการเกิดฟันผุ และควร
ให้ฟลูออไรด์เสริมแก่เด็ก นอกจากนั้นควรหัดให้เด็กรักษาอนามัยของ
ช่องปาก หัดให้เด็กแปรงฟันอย่างถูกวิธี  และพ่อแม่ควรเป็นแบบอย่าง
ที่ดีแก่เด็ก  การมีฟันสมบูรณ์ก็ส่งผลต่อการกินอาหารเช่นเดียวกัน

ขอบคุณข้อมูล www.kingdomplaza.com

 


หน้าต่างสุขภาพ

สุขภาพดีดีหน้าต่างสุขภาพ

+สุขภาพผู้หญิง
+สุขภาพผู้ชาย
+สุขภาพเด็ก
+สุขภาพวัยรุ่น
+ผู้สูงอายุ
เที่ยวประเทศไทยสถานที่เที่ยวสุขภาพ

โรคภัยไข้เจ็บการรักษาโรค
-
10 วิธีฝึกสมอง
-
กินเร็วเสี่ยงเบาหวาน
-
กรดไหลย้อน
-
อัลไซเมอร์ 
-
โรคไต

คอลัมน์สุขภาพอาหารสุขภาพ
+เห็ดล้างพิษ
+
ฟักทองผัดไข่
+น้ำมะนาว
+ถั่วเขียวต้ม
+ งาดำ
+สาหร่ายทะเล
+กล้วยหอมงาดำ
+กล้วยน้ำหว้าโรยงา

link web healthบทความสุขภาพ
+
ว่านหางจระเข้
+กินไข่แค่ไหนดี
+
Future FOOD
+อาหารฮาลาล
+อัลไซเมอร์